การสื่อสารความเสี่ยงช่วงสถานการณ์การเกิดโรคระบาดโควิด-19 (COVID-19)


Share:
การสื่อสารความเสี่ยงช่วงสถานการณ์การเกิดโรคระบาดโควิด-19 (COVID-19)

การสื่อสารออนไลน์ ในยุคสังคมที่ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็ว ในโลกปัจจุบัน เหตุการณ์ที่ไม่คาดฝ่าน หรือภาวะวิกฤติต่าง ๆ อาจเกิดขึ้นเมื่อใดก็ได้ตลอดเวลา ดังเช่นสถานการณ์การเกิดโรคระบาดโควิด-19 (COVID-19) ที่พวกเราทุกคนกำลังเผชิญอยู่ทุกวันนี้ เมื่อมีสถานการณ์เกิดขึ้นแล้ว แน่นอนครับว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมีการเตรียมการและดำเนินการอย่างรวดเร็วเพื่อควบคุมความรุนแรง จำกัดขอบเขตความเสียหาย เพื่อลดความตื่นตระหนก และลดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงหาทางช่วยเหลือบรรเทาภัยแก่ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อน
            ซึ่ง “การสื่อสาร” จึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเมื่อเกิดสถานะการณ์วิกฤติการนำเสนอข่าวออกสู่สาธารณะชนจะต้องมีกลวิธีในการสื่อสารที่ดีเหมาะสมและประสิทธิภาพอย่างมาก เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือของบุคคลและองค์กร หน่วยงาน โดยในการสื่อสารในภาวะความเสี่ยงนั้น ผู้สื่อสารต้องให้ข้อมูลแก่ผู้รับสารถึงการดูแลด้านสุขภาพ การป้องกัน ที่มาสาเหตุของการเกิดโรค รวมถึงผลที่เกิดจากพฤติกรรมหรือการละเลยเรื่องใดเรื่องหนึ่งนั้นจะให้ผลลัพธ์อย่างไร ดีหรือเลวและรุนแรงแค่ไหนมากหรือน้อยอย่างไร โดยการสื่อสารความเสี่ยงผู้สื่อสารต้องสื่อสารดังนี้
            1. ต้องมีความพยายามที่จะทำให้ประชาชนตื่นตัวในความเสี่ยงอันเกิดจากการตัดสินใจและการกระทำเกี่ยวกับสุขภาพและความปลอดภัยของตน
            2.ต้องมีความพยายามที่จะช่วยให้ประชาชนเข้าใจและเห็นคล้อยกับระดับความ เสี่ยงตามกฎที่ทางการกำหนด
            3.ต้องมีความพยายามที่จะป้องกันไม่ให้เกิดความเสี่ยง หรือสกัดปัจจัยอันจะนำไปสู่ ความเสี่ยงเสียแต่เนิ่นๆ
            ซึ่งการบริหารการสื่อสารความเสี่ยงในสถานการณ์การเกิดโรคระบาดโควิด-19 (COVID-19) องค์กรหรือหน่วยงาน รวมถึงผู้ที่สื่อสารต้อง ลดความวิตกกังวล ความหวาดกลัว และความวุ่นวายอันเกิดจาก สถานการณ์เสี่ยง สร้างความไว้วางใจจากประชาชนและความน่าเชื่อถือของเจ้าหน้าที่รัฐ สร้างความร่วมมือในการแก่ปัญหาของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุุ่มที่ได้รับผลกระทบให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับโรคและการระบาด ซึ่งในส่วนของประชาชนทุกคนก็ต้องให้ความร่วมมือกับรัฐด้วยโดยการอยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติทำงานที่บ้าน Work from Home พร้อมกับเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) กันนะสักพักนะครับ

อปท.นิวส์ : หนังสือพิมพ์รายปักษ์ เพื่อการปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ถือกำเนิดขึ้นเพื่อพัฒนาประเทศ สู่ความเข้มแข็งและมั่นคง.
ฉบับวันที่ 1-15 เมษายน 2563
อ.ต้นรัก ธวัชชัย สุขสีดา

การสื่อสารออนไลน์ ในยุคสังคมที่ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็ว ในโลกปจจุบัน เหตุการณที่ไมคาดฝน หรือภาวะวิกฤติตาง ๆ อาจเกิดขึ้นเมื่อใดก็ไดตลอดเวลา ดังเช่นสถานการณ์การเกิดโรคระบาดโควิด-19 (COVID-19) ที่พวกเราทุกคนกำลังเผชิญอยู่ทุกวันนี้ เมื่อมีสถานการณ์เกิดขึ้นแล้ว แน่นอนครับว่า หน่วยงานที่เกี่ยวของตองมีการเตรียมการและดำเนินการอยางรวดเร็วเพื่อควบคุมความรุนแรง จำกัดขอบเขตความเสียหาย เพื่อลดความตื่นตระหนก และลดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพยสิน รวมถึงหาทางชวยเหลือบรรเทาภัยแกประชาชนที่ไดรับความเดือดรอน 	ซึ่ง “การสื่อสาร” จึงมีความสำคัญอยางยิ่ง เพราะเมื่อเกิดสถานะการณวิกฤติการนำเสนอขาวออกสูสาธารณะชนจะตองมีกลวิธีในการสื่อสารที่ดีเหมาะสมและประสิทธิภาพอย่างมาก เพื่อสรางความนาเชื่อถือของบุคคลและองคกร หน่วยงาน โดยในการสื่อสารในภาวะความเสี่ยงนั้น ผูสื่อสารตองใหขอมูลแกผูรับสารถึงการดูแลด้านสุขภาพ การป้องกัน ที่มาสาเหตุของการเกิดโรค รวมถึงผลที่เกิดจากพฤติกรรมหรือการละเลยเรื่องใดเรื่องหนึ่งนั้นจะใหผลลัพธอยางไร ดีหรือเลวและรุนแรงแคไหนมากหรือนอยอย่างไร โดยการสื่อสารความเสี่ยงผู้สื่อสารต้องสื่อสารดังนี้ 	1. ต้องมีความพยายามที่จะทำใหประชาชนตื่นตัวในความเสี่ยงอันเกิดจากการตัดสินใจและการกระทำเกี่ยวกับสุขภาพและความปลอดภัยของตน 	2.ต้องมีความพยายามที่จะชวยใหประชาชนเขาใจและเห็นคลอยกับระดับความ เสี่ยงตามกฎที่ทางการกำหนด  	3.ต้องมีความพยายามที่จะปองกันไมใหเกิดความเสี่ยง หรือสกัดปจจัยอันจะนำไปสู ความเสี่ยงเสียแตเนิ่นๆ 	ซึ่งการบริหารการสื่อสารความเสี่ยงในสถานการณ์การเกิดโรคระบาดโควิด-19 (COVID-19) องค์กรหรือหน่วยงาน รวมถึงผู้ที่สื่อสารต้อง ลดความวิตกกังวล ความหวาดกลัว และความวุนวายอันเกิดจาก สถานการณเสี่ยง สรางความไววางใจจากประชาชนและความนาเชื่อถือของเจาหนาที่รัฐ สรางความรวมมือในการแกปญหาของผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุมที่ไดรับผลกระทบใหความรูกับประชาชนเกี่ยวกับโรคและการระบาด ซึ่งในส่วนของประชาชนทุกคนก็ต้องให้ความร่วมมือกับรัฐด้วยโดยการอยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติทำงานที่บ้าน Work from Home พร้อมกับเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) กันนะสักพักนะครับ

การสื่อสารออนไลน์ ในยุคสังคมที่ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็ว ในโลกปจจุบัน เหตุการณที่ไมคาดฝน หรือภาวะวิกฤติตาง ๆ อาจเกิดขึ้นเมื่อใดก็ไดตลอดเวลา ดังเช่นสถานการณ์การเกิดโรคระบาดโควิด-19 (COVID-19) ที่พวกเราทุกคนกำลังเผชิญอยู่ทุกวันนี้ เมื่อมีสถานการณ์เกิดขึ้นแล้ว แน่นอนครับว่า หน่วยงานที่เกี่ยวของตองมีการเตรียมการและดำเนินการอยางรวดเร็วเพื่อควบคุมความรุนแรง จำกัดขอบเขตความเสียหาย เพื่อลดความตื่นตระหนก และลดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพยสิน รวมถึงหาทางชวยเหลือบรรเทาภัยแกประชาชนที่ไดรับความเดือดรอน
ซึ่ง “การสื่อสาร” จึงมีความสำคัญอยางยิ่ง เพราะเมื่อเกิดสถานะการณวิกฤติการนำเสนอขาวออกสูสาธารณะชนจะตองมีกลวิธีในการสื่อสารที่ดีเหมาะสมและประสิทธิภาพอย่างมาก เพื่อสรางความนาเชื่อถือของบุคคลและองคกร หน่วยงาน โดยในการสื่อสารในภาวะความเสี่ยงนั้น ผูสื่อสารตองใหขอมูลแกผูรับสารถึงการดูแลด้านสุขภาพ การป้องกัน ที่มาสาเหตุของการเกิดโรค รวมถึงผลที่เกิดจากพฤติกรรมหรือการละเลยเรื่องใดเรื่องหนึ่งนั้นจะใหผลลัพธอยางไร ดีหรือเลวและรุนแรงแคไหนมากหรือนอยอย่างไร โดยการสื่อสารความเสี่ยงผู้สื่อสารต้องสื่อสารดังนี้
1. ต้องมีความพยายามที่จะทำใหประชาชนตื่นตัวในความเสี่ยงอันเกิดจากการตัดสินใจและการกระทำเกี่ยวกับสุขภาพและความปลอดภัยของตน
2.ต้องมีความพยายามที่จะชวยใหประชาชนเขาใจและเห็นคลอยกับระดับความ เสี่ยงตามกฎที่ทางการกำหนด
3.ต้องมีความพยายามที่จะปองกันไมใหเกิดความเสี่ยง หรือสกัดปจจัยอันจะนำไปสู ความเสี่ยงเสียแตเนิ่นๆ
ซึ่งการบริหารการสื่อสารความเสี่ยงในสถานการณ์การเกิดโรคระบาดโควิด-19 (COVID-19) องค์กรหรือหน่วยงาน รวมถึงผู้ที่สื่อสารต้อง ลดความวิตกกังวล ความหวาดกลัว และความวุนวายอันเกิดจาก สถานการณเสี่ยง สรางความไววางใจจากประชาชนและความนาเชื่อถือของเจาหนาที่รัฐ สรางความรวมมือในการแกปญหาของผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุมที่ไดรับผลกระทบใหความรูกับประชาชนเกี่ยวกับโรคและการระบาด ซึ่งในส่วนของประชาชนทุกคนก็ต้องให้ความร่วมมือกับรัฐด้วยโดยการอยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติทำงานที่บ้าน Work from Home พร้อมกับเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) กันนะสักพักนะครับ

 

Share:

Leave a reply