-
ปฏิวัติเกษตรกรรมด้วย IoT เทคโนโลยีอัจฉริยะเพื่อเกษตรกรยุคใหม่ 9.0 อย่างก้าวและยั่งยืน บทความหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ รายปักษ์ วันที่ 16-31 มีนาคม 2568 โดยคอลัมนีสต์ อ.ดร.ต้นรัก ธวัชชัย ...
ปฏิวัติเกษตรกรรมด้วย IoT เทคโนโลยีอัจฉริยะเพื่อเกษตรกรยุคใหม่ 9.0 อย่างก้าวและยั่งยืน บทความหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ รายปักษ์ วันที่ 16-31 มีนาคม 2568 โดยคอลัมนีสต์ อ.ดร.ต้นรัก ธวัชชัย สุขสีดา อาจารย์สอนด้านการตลาดออนไลน์ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาดออนไลน์ สวัสดีในยุคดิจิทัลที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในทุกมิติของชีวิต ภาคเกษตรกรรมก็ไม่อาจหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงนี้ได้ ... -
แนะเครื่องมือ AI ผู้ช่วยอัจฉริยะ เช็กค่าฝุ่น PM2.5 ทันใจ ปกป้องสุขภาพก่อนป่วย บทความหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ รายปักษ์ วันที่ 1-15 มีนาคม 2568 โดยคอลัมนีสต์ ...
แนะเครื่องมือ AI ผู้ช่วยอัจฉริยะ เช็กค่าฝุ่น PM2.5 ทันใจ ปกป้องสุขภาพก่อนป่วย บทความหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ รายปักษ์ วันที่ 1-15 มีนาคม 2568 โดยคอลัมนีสต์ อ.ดร.ต้นรัก ธวัชชัย สุขสีดา อาจารย์สอนด้านการตลาดออนไลน์ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาดออนไลน์ ... -
สุดยอดเครื่องมือ AI “เพิ่มพูนทักษะชีวิต พัฒนาตนเอง” สำหรับชาวบ้านในยุคดิจิทัลปี 2568 ผู้เขียนคอลัมนีสต์ โดย อ.ดร.ต้นรัก ธวัชชัย สุขสีดา อาจารย์สอนด้านการตลาดออนไลน์ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาดออนไลน์
สุดยอดเครื่องมือ AI “เพิ่มพูนทักษะชีวิต พัฒนาตนเอง” สำหรับชาวบ้านในยุคดิจิทัลปี 2568 สวัสดีครับในยุคที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์หรือ AI เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของเรามากขึ้น การเรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากับการอยู่กับเทคโนโลยีจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับชาวบ้านอย่างเรา บางคนเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีและบางคนอาจไม่คุ้นเคยกับการใช้เทคโนโลยีมากนัก ซึ่งการใช้เทคโนโลยีเครื่องมือ AI กับการดำรงชีวิตในยุคนี้อย่างถูกต้องและเหมาะสมสามารถช่วยเพิ่มพูนทักษะความรู้ พัฒนาตนเอง และยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นได้ โดยเครื่องมือ AI ที่น่าสนใจในการใช้ง่ายสำหรับชาวบ้านอย่างเราผมขอแนะนำดังนี้ครับ ... -
เครื่องมือ AI เพื่อการบริหารการเงินสำหรับชาวบ้าน บทความหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ รายปักษ์ วันที่ 1-15 กุมภาพันธ์ 2568 โดยคอลัมนีสต์ อ.ดร.ต้นรัก ธวัชชัย สุขสีดา อาจารย์สอนก้านการตลาดออนไลน์ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาดออนไลน์
บทความข่าวสารการตลาดออนไลน์ เรื่อง เครื่องมือ AI เพื่อการบริหารการเงินสำหรับชาวบ้าน บทความหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ รายปักษ์ วันที่ 1-15 กุมภาพันธ์ 2568 โดยคอลัมนีสต์ อ.ดร.ต้นรัก ธวัชชัย สุขสีดา อาจารย์สอนก้านการตลาดออนไลน์ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาดออนไลน์ สวัสดีครับในยุคดิจิทัลที่เทคโนโลยี AI เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันมากขึ้น การบริหารจัดการการเงินส่วนบุคคลก็เช่นกัน ... -
ตะวันเดือน สร้างสรรค์ภูมิปัญญาสมุนไพรไทย Soft Power สู่สากลโลก บทความหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ รายปักษ์ 16-31 มกราคม 2568 คอลัมนีสต์โดย อ.ดร.ต้นรัก ธวัชชัย สุขสีดา อาจารย์ ...
สวัสดีครับถ้าจะพูดประเทศไทยของเรานั้นจากอดีตจนถึงปัจจุบันมีความโดดเด่นของภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย จะได้เห็นได้จากช่วงสถานการณ์โควิด 19 คนหันมาสนใจด้านสุขภาพ อาหารไทย และสมุนไพรเพิ่มมากขึ้น ซึ่งรัฐบาลก็มีนโยบายสนับสนุนการสร้างพลังสร้างสรรค์หรือ Soft Power ของประเทศ เพื่อยกระดับและพัฒนาความรู้ความสามารถ และความคิดสร้างสรรค์ของคนไทย ให้สามารถสร้างงาน สร้างรายได้รวมทั้งอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาต่อยอด ศิลปะ วัฒนธรรม และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อนํามาต่อยอดในการสร้างมูลค่าเพิ่ม วันนี้ผมขอแนะนำบุคคลด้านสมุนไพรของไทยให้ทุกท่านได้รู้จักนั้นก็คือ คุณลุงแดง มงคลรัตน์ ตะวันเดือน ... -
อนาคตของการตลาดดิจิทัลกับแนวโน้มที่ต้องจับตามองในปี 2025 บทความหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ โดย อ.ดร.ต้นรัก ธวัชชัย สุขสีดา อาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านออนไลน์ อดีตกูรูที่ปรึกษาด้านดิจิทัล SCB BUSINESS CENTER ธนาคารไทยพาณิชย์
อนาคตของการตลาดดิจิทัลกับแนวโน้มที่ต้องจับตามองในปี 2025 สวัสดีครับ เริ่มสิ่งดี ๆ ใหม่ ๆ กับการก้าวเข้าสู่ปี 2025 กันแล้วการตลาดดิจิทัลมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และการก้าวล้ำหน้าอยู่เสมอถือเป็นสิ่งสำคัญสำหรับธุรกิจที่ต้องการเติบโตในยุคที่ก้าวหน้า ในปีนี้เตรียมรับกับเทรนด์ใหม่ๆ ที่จะมาปรับเปลี่ยนโฉมหน้าของการส่งเสริมการขายขั้นสูง ซึ่งแนวโน้มสำคัญในการทำการตลาดดิจิทัลในปี 2025 อ้างอิงข้อมูล Jeff Irvine นั้นเรื่องแรก คือ ... -
ส่งท้ายปีกับการ ‘รีเซ็ตแพลตฟอร์ม’ ครั้งยิ่งใหญ่ของโลกออนไลน์ บทความหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ โดย อ.ดร.ต้นรัก ธวัชชัย สุขสีดา อาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านออนไลน์ อดีตกูรูที่ปรึกษาด้านดิจิทัล SCB BUSINESS CENTER ธนาคารไทยพาณิชย์
ส่งท้ายปีกับการ ‘รีเซ็ตแพลตฟอร์ม’ ครั้งยิ่งใหญ่ของโลกออนไลน์ สวัสดีครับในคณะที่คนทั้งโลกกำลังจับตามองสงครามในยูเครนและกาซาที่กำลังดำเนินไปอย่างดุเดือด ช่วงเวลาที่ยากลำบากนี้ การนำเสนอข่าวสารที่แม่นยำและเป็นอิสระยังคงมีความสำคัญมากกว่าที่เคย สื่อต่าง ๆ เผชิญกับความท้าทายมากขึ้นเรื่อยๆ จากข้อมูลเท็จและข้อมูลที่บิดเบือนที่เพิ่มขึ้น หลายประเทศในโลกนี้เต็มไปด้วยตัวอย่างการเลิกจ้างงาน การปิดกิจการ และการตัดงบประมาณ อันเนื่องมาจากต้นทุนที่สูงขึ้น รายได้จากโฆษณาที่ลดลง และปริมาณการเข้าชมจากโซเชียลมีเดียที่ลดลงอย่างรวดเร็วในบางส่วนของโลกใบนี้ ซึ่งความท้าทายทางเศรษฐกิจเหล่านี้ทำให้สื่อข่าวต้องเผชิญกับแรงกดดันจากนักธุรกิจที่มีอำนาจหรือรัฐบาลที่ต้องการมีอิทธิพลต่อการรายงานข่าวและควบคุมเรื่องราวต่างๆ ได้ยากยิ่งขึ้น วิกฤตนี้ไม่ได้เกิดมาจากสาเหตุเดียวแต่เกิดขึ้นมาสักระยะหนึ่งแล้ว จะเห็นได้จากความท้าทายเฉพาะหน้าหลายประการที่เกิดจากอำนาจและกลยุทธ์ที่เปลี่ยนแปลงไปของบริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่คู่แข่งด้านโซเชียลมีเดีย อย่างเฟสบุ๊ก (Facebook) ... -
จริยธรรมการตลาดดิจิทัล ที่ควรรู้ บทความหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ โดย อ.ดร.ต้นรัก ธวัชชัย สุขสีดา อาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านออนไลน์ ดีตกูรูที่ปรึกษาด้านดิจิทัล SCB Business Center ธนาคารไทยพาณิชย์ 
จริยธรรมการตลาดดิจิทัล ที่ควรรู้ สวัสดีครับในยุคที่การสื่อสารโต้ตอบและการทำธุรกรรมแทบทุกครั้งเกิดขึ้นทางออนไลน์ การตลาดดิจิทัลได้กลายมาเป็นเครื่องมือที่ขาดไม่ได้สำหรับการทำธุรกิจทุกวันนี้ อย่างไรก็ตามพลังการตลาดดิจิทัลที่ยิ่งใหญ่มาพร้อมกับความรับผิดชอบอันยิ่งใหญ่เช่นกัน ตัวอย่าง จากแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียชื่อดังแห่งหนึ่งต้องเผชิญกับการถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักหลังจากถูกเปิดเผยว่า พวกเขาได้รวบรวมข้อมูลของผู้ใช้นำไปใช้หาผลประโยชน์โดยไม่ได้รับความยินยอม เหตุการณ์นี้ไม่เพียงแต่ทำลายชื่อเสียงของบริษัทเท่านั้น แต่ยังจุดประกายให้เกิดการพูดคุยในวงกว้างเกี่ยวกับการมีจริยธรรมของการทำการตลาดดิจิทัลในโลกทุกวันนี้ ปัญหาสำคัญในประเด็นนี้อยู่ที่ปัญหาทางจริยธรรมของการนำข้อมูลส่วนตัวของลูกค้าที่ถือว่าเป็นผู้ใช้แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียเป็นปัญหาสำคัญ เนื่องจากบริษัทได้รวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเป็นจำนวนมาก โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้อย่างชัดเจน ทำให้เกิดคำถามเกี่ยวกับวิธีการใช้ข้อมูลนี้ ใครมีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล และควรปกป้องข้อมูลในระดับใด นอกจากนี้ เส้นแบ่งระหว่างการตลาดแบบโน้มน้าวใจและแบบหลอกลวงมักจะไม่ชัดเจน เทคนิคที่โน้มน้าวผู้บริโภคให้ซื้อสินค้าaบางครั้งอาจล้ำเส้นจนดูเป็นการหลอกลวงหรือเอารัดเอาเปรียบ การโฆษณาที่ทำให้เข้าใจผิดเป็นอีกประเด็นสำคัญ ... -
รู้เท่าทันโฆษณาชวนเชื่อหลอกขายสินค้าชวนลงทุนทำธุรกิจผิดกฎหมาย บทความหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ โดย อ.ดร.ต้นรัก ธวัชชัย สุขสีดา อาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านออนไลน์
รู้เท่าทันโฆษณาชวนเชื่อหลอกขายสินค้าชวนลงทุนทำธุรกิจผิดกฎหมาย สวัสดีครับวันนี้คงได้เห็นข่าวคราวกระแสของการที่มีผู้คนเสียหายจากการโฆษณาหลอกลวงขายสินค้าและชวนไปลงทุนมีเกิดขึ้นในสังคมเป็นจำนวนมาก เลยอยากให้ทุกท่านได้รู้จักกับการโฆษณาชวนเชื่อ นั้นคือ การเผยแพร่ข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นข้อเท็จจริง ข้อโต้แย้ง ข่าวลือ ความจริงครึ่งเดียว หรือคำโกหก เพื่อโน้มน้าวความคิดเห็นของสาธารณชน โดยอาจกล่าวได้ว่า การโฆษณาชวนเชื่อหรือการโฆษณาเกินจริงใกล้เคียงกัน คือการพยายามทำให้คน ‘เชื่อ’ ในสิ่งที่อาจจะไม่เป็นจริงโดยหวังผลอะไรบางอย่างซ่อนอยู่เบื้องหลัง มันคือการโกหกเพื่อให้คนส่วนใหญ่เชื่อ จะเห็นได้จากข่าวในช่วงเดือนที่ผ่านมา ที่มีการใช้ดาราและบุคคลที่มีชื่อเสียงมารับบทบาทเป็นพรีเซ็นเตอร์โฆษณาโน้มน้าวจูงใจผู้บริโภคที่เกินความเหมาะสมโดยการโฆษณาแฝงขายสินค้าหรือผลิตภัณฑ์และชักชวนลงทุนทำเครือข่ายธุรกิจ ซึ่งแน่นอนว่าดาราคือจุดดึงดูดผู้บริโภคที่มีส่วนสำคัญทำให้ผู้บริโภคชื่นชอบตัดสินใจลงทุน ... -
การตลาดแฟนคลับในโลกโซเชียลมีเดียสร้างปรากฏการณ์ “เศรษฐกิจแฟนคลับ”
สวัสดีครับวันนี้โลกโซเชียลมีเดียทำให้ผู้บริโภคหรือแฟนคลับได้ใกล้ชิดและติดตามคนที่ชื่นชอบได้ง่ายขึ้น การตลาดที่ทรงพลังในยุคนี้ที่สามารถทำให้ผู้บริโภคยอมควักกระเป๋าจ่ายเงินคงหนี้ไม่พ้นเหล่าแฟนคลับที่ยอมสนับสนุนคนที่ชื่นชอบไม่ว่าจะเป็น ศิลปิน ดารา นักร้อง ไอดอล คนดัง ครีเอเตอร์ รวมไปถึง ภาพยนตร์ ซีรีส์ ซึ่งเป็นเทรนด์การตลาดที่มาแรงเพราะมีรายได้มหาศาลจากฐานแฟนคลับ ซึ่งถ้าแฟนคลับเกิดความภักดีขึ้นมาแล้วละก็ เหล่าแฟนคลับก็พร้อมเปย์ พร้อมจ่าย พร้อมอุดหนุนสินค้าบริการโดยไม่ต้องคิดมากเลยทีเดียว ดังจะเห็นได้จากปรากฏการณ์เศรษฐกิจแฟนคลับ “Fan Economy” ที่กำลังร้อนแรงในจีน ...